พื้น Epoxy Anti Statics พื้นอีพ็อกซี่กันไฟฟ้าสถิต โทร 061 656 4979

ขั้นตอนการติดตั้งพื้นอีพ็อกซี่ป้องกันไฟฟ้าสถิตโดยช่างทำพื้นโรงงานมืออาชีพ**

รับทำพื้นกันไฟฟ้าสถิต ขั้นตอนการติดตั้งพื้นอีพ็อกซี่ป้องกันไฟฟ้าสถิต Epoxy Anti-Statics **

การติดตั้งทำพื้นโรงงานให้มีคุณภาพและหากต้องการ พื้นอีพ็อกซี่ป้องกันไฟฟ้าสถิต (Epoxy Anti-Static Flooring) ต้องอาศัยความชำนาญและความเข้าใจในกระบวนการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด บทความนี้จะพาคุณไปรู้จักกับขั้นตอนการติดตั้งโดยมืออาชีพ เสร็จแล้วมีบริการ วัดค่าไฟฟ้าจากพื้น Epoxy Anti Statics อีกด้วย

ขั้นตอนการติดตั้งพื้น อีพอกซี่กันไฟฟ้าสถิตย์ ปราศจากตัวทําละลาย ชนิดถ่ายเทประจุไฟฟ้า (ป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิต) โดยช่างทำพื้นโรงงานมืออาชีพและรับซ่อมพื้น epoxy /pu พื้นห้องเย็น 24 ชม.

พื้นกันไฟฟ้าสถิต epoxy anti statics
ปราศจากตัวทําละลาย ชนิดถ่ายเทประจุไฟฟ้า (ป้องกันการเกิดไฟฟ้าสถิต) เป็นสีทับหน้าอีพ็อกซี่ 2 ส่วน ที่ปราศจากส่วนผสมของตัวทําละลาย ที่สามารถถ่ายเทประจุไฟฟ้า ช่วยแก้ปัญหาการปะทุของไฟฟ้าสถิต ปราศจากรอยต่อทําให้มีความสามารถในการถ่ายเทประจุเท่ากันทั่วทั้งพื้นท่ี มีสีสันให้เลือกตามแคตตาล็อค เหมาะสําหรับโรงงานทีผลิตหรือประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

โดยมีขั้นตอนวิธีการทำพื้นโดยช่างที่ชำนาญเท่านั้น วิธีการมีดังนี้

  1. เตรียมพื้นผิวก่อนลง epoxy: ทำความสะอาดพื้นเดิมให้ปราศจากฝุ่นละอองและสิ่งสกปรก
  2. ทาสาร Primer อีพ็อกซี่รองพื้น: เพื่อเพิ่มการยึดเกาะระหว่างพื้นเดิมกับอีพ็อกซี่ ที่เป็นพื้นกันไฟฟ้า
  3. ลง Epoxy ชั้นกลาง : คือ เป็นสารเคลือบพื้นอีพ็อกซี่ ที่เป็นตัวปรับระดับ และใช้ปรับความสมดุลของพื้นโรงงาน โดยมีแนวทางการผสม มีสูตร 5:1 โดยผสมให้เข้ากัน
  4. ปู Copper Tape เป็น เทปฟอยล์ทองแดง ที่ใช้ทำพื้นกันไฟฟ้าสถิต กว้าง 2 เมตร x ยาว 2 เมตร ทุกๆ 4 ตารางเมตร และห่างจากผนัง 50 เซนติเมตร โดยปู Copper Tape เทปฟอยล์ทองแดง ขึ้น Ground Box ทุกๆ 10 เมตร Copper Tape เทปฟอยล์ทองแดงที่นำมาทำพื้นกันไฟฟ้าสถิตย์ ตัวนี้สามารถทนต่ออุณหภูมิสูงได้โดยไม่เสื่อมสภาพ จึงเหมาะสำหรับการใช้งานที่ต้องการการกระจายความร้อนหรือความต้านทาน มักใช้ในพื้นอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พื้นยานยนต์ หรืออวกาศ ที่ต้องการกันไฟฟ้าสถิต
  5. ลงน้ำยา Conductive  (คอนดักทีฟ ) .ให้ทั่วบริเวณ พื้นที่ ที่จะต้องการทำ พื้นกันไฟฟ้าสถิตย์ เป็นการเหนี่ยวนำประจุไฟฟ้า ผ่านสายดินลงสู่พื้น นิยมใช้เป็นพื้น Epoxy ห้อง CLEANROOM พื้นอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์ และพื้นอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์พลาสติก หรือ พื้นที่ห้ามมีประกายไฟ หรือพื้นห้องเก็บสารระเหยที่ติดไฟง่าย ควรใช้ตัวนี้ กันไฟฟาสถิตได้
  6. เทอีพ็อกซี่ป้องกันไฟฟ้าสถิต: กระจายวัสดุให้ทั่วพื้นผิว และใช้เครื่องมือปรับระดับให้เรียบ โดยผสม EPOXY Part A โดยมีการชั่งตวงอัตราส่วนที่กำหนดไว้ กับ EPOXY Part B 16:7.12
  7. รอพื้น epoxy แห้ง: โดยส่วนใหญ่ จะใช้เวลาประมาณ 12- 36 ชั่วโมง จึงสามารถใช้งานได้
  8. ตรวจสอบคุณสมบัติการนำไฟฟ้า: เพื่อให้มั่นใจว่าพื้นผิวสามารถกระจายประจุไฟฟ้าได้ตามมาตรฐาน

สิ่งที่ต้องระวังสำหรับการทำติดตั้งพื้นโรงงาน

  • ควรเลือกวัสดุที่มีคุณภาพและติดตั้งโดยผู้เชี่ยวชาญ
  • ตรวจสอบมาตรฐานการควบคุมไฟฟ้าสถิตก่อนการติดตั้ง

สรุป

การติดตั้งพื้นอีพ็อกซี่ป้องกันไฟฟ้าสถิตอย่างถูกต้องจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในพื้นที่ทำงาน

epoxy anti statics พื้นอีพ็อกซี่กันไฟฟ้าสถิตย์
Anti-Static คือ พื้น Epoxy กันไฟฟ้าสถิต ทำให้กะแสไฟฟ้าไหลผ่านออกทางสายดิน ป้องกันกะแสไฟฟ้าสถิตในตัวคน หรือจากสิ่งอื่นๆ ไหลผ่านไปทำปฎิกิริยากับอุปกรณ์อีเล็คทรอนิคอื่นๆ ความเสียหายที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเกิดได้ตั้งแต่ ผู้ผลิตจนถึง ณ จุดการใช้งาน ความเสียหายเป็นผลมาจากการจับฉวยหรือเข้าใกล้อุปกรณ์นั้นๆโดยไม่มีการระมัดระวังเรื่องการควบคุมไฟฟ้าสถิตเป็นอย่างดีพอ โดยทั่วไปแล้วความหายเสียถูกแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่เรียกว่าความเสียหายทันที (catastrophic failure) และกลุ่มที่เรียกว่าความเสียหายแบบแฝง (latent defect) ซึ่งทางบริษัท เฟิรสท์คอน เซอร์วิส มีบริการอยู่ 2 ประเภท คือ
รับทำพื้นอีพ็อกซี่epoxy พื้นพียูpu concrete ราคาถูก พื้นโรงงาน พื้นห้องเย็น รับเหมาทำพื้นโรงงาน
ปรึกษาเรื่องทำพื้นโรงงาน พื้นอีพ็อกซี่ epoxy พื้นพียู pu รับซ่อมพื้นโรงงาน ซ่อมพื้นอีพ็อกซี่ ซ่อมพื้นพียู